ตักบาตรสันป่าตอง พระ 1,043 รูป ปีที่ 2 ถวายเป็นพุทธบูชา
มหาสังฆทาน สามัคคี ตักบาตรพระ 1,043 รูป ปีที่ 2 ถวายเป็นพุทธบูชาเนื่องในโอกาสวิสาขบูชา ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 6
การสื่อสารไร้สายสมัยพุทธกาล ตอนที่ 1
พวกเราเคยคิดไหมเอ่ยว่า ในครั้งพุทธกาลเนี่ย พระพุทธศาสาแผ่ขยายไปกว้างขวาง คิดเป็นพื้นที่ก็ใหญ่กว่าประเทศไทยปัจจุบันเสียอีก คณะสงฆ์ก็มีอยู่มากมาย เป็นแสน เป็นล้านองค์ กระจายอยู่เต็มแผ่นดิน แล้วในยุคนั้น โทรศัพท์ก็ไม่มี มือถือก็ไม่มี วิทยุก็ไม่มี โทรทัศน์ก็ไม่มี อินเตอร์เน็ตก็ไม่มี แฟ๊กซ์ก็ไม่มี แล้วเวลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์เทศน์สอนคำสอนขึ้นมาแต่ละข้อๆ เนี่ย แต่ละเรื่อง คณะสงฆ์ที่กระจายเต็มแผ่นดินจะรู้ได้อย่างไร เพราะในยุคนั้นยังไม่มีพระไตรปิฎกเลยใช่ไหม พระไตรปิฎกบังเกิดขึ้นหลังจากพุทธกาล หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว พระอรหันต์ 500 รูป จึงสังคายนา ประมวลคำสอนของพระองค์ทั้งหมดมาบรรจุเป็นพระไตรปิฎก
เธอชอบกินเด็กแรกเกิด
ในประเทศเนปาลมีตำนานเล่าว่า “เชอรี ฮาราติมา” เธอเกิดในสมัยพุทธกาลและชอบกินเด็กแรกเกิด และเธอเองก็มีลูกอยู่ 5 คน
วัดพระธรรมกาย จัดวันอาสาฬหบูชาออนไลน์
วัดพระธรรมกาย ได้จัดวันอาสาฬหบูชาออนไลน์ จุดประทีปเป็นพุทธบูชา-สงฆ์ทั่วโลกเจริญพุทธมนต์ให้ชาวโลกพ้นภัยโควิด-19 พร้อมช่วยเหลือส่งมอบเตียงโรงพยาบาลสนาม 628 ชุด, อาหารปรุงสุก 27,370 กล่อง, ถวายสังฆทาน 56,000 รูป, และมอบถุงยังชีพ-เวชภัณฑ์ กว่า 2.5 แสนรายการ
ขอเชิญรับชมการถ่ายทอดสด พิธีถวายสังฆทาน 266 วัด ครั้งที่ 62
พุทธบริษัทสี่ ทั้งในและต่างประเทศ ร่วมกับวัดพระธรรมกายและมูลนิธิธรรมกาย ร่วมกันจัดพิธีถวายสังฆทานแด่คณะสงฆ์ 266 วัด 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ครั้งที่ 62 และพิธีมอบทุนหนุนแรงใจช่วยครูใต้ ครั้งที่ 31 ขึ้น
พิธีถวายสังฆทานแด่คณะสงฆ์ 323 วัด ภาคใต้ ปีที่ 11 ครั้งที่ 114
ยะลาจัดพิธีตักบาตรพระ 1,000 รูป ถนนสุขยางค์ หน้าจวนผู้ว่าฯ และพิธีถวายสังฆทานแด่คณะสงฆ์ 323 วัด ภาคใต้ ปีที่ 11 ครั้งที่ 114 โดยมี พระธรรมวงศาจารย์ ที่ปรึกษาเจ้าคณะภาค 18 เป็นประธานสงฆ์ , พลโทนพวงศ์ สุระวิชัย แม่ทัพน้อยที่ 4, รองผู้อำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า และนายสามารถ วราดิศัย ผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา รวมเป็นประธานฝ่ายฆราวาส
กฐิน ผ้าป่า และอานิสงส์
กฐินและผ้าป่ามีความเหมือนหรือต่างกันอย่างไร? กฐินและผ้าป่ามีพิธีกรรมและสิ่งของที่ถวายเหมือนกันหรือต่างกันอย่างไรในแต่ละยุคสมัย? การทอดกฐินมีประวัติความเป็นมาอย่างไร?
ยลภาพยามอุทกเยือน ผู้สืบศาสน์ป้องบ้านเมือง
เมื่อบ้านเมืองเผชิญอุทกภัยรุนแรงเหล่าสงฆ์ผู้สืบทอดศาสนาก็ไม่ได้อยู่นิ่งเฉยออกมาปกป้องบ้านเมืองอย่างแข็งขัน
มหาโควินทสูตรตอนที่ ๑ (เทวสันนิบาต)
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีในความพร้อมเพรียงกัน ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ
สำนักต่างประเทศ วัดพระธรรมกาย และ กอง AEC ทอดกฐินสมทบ ที่ประเทศเวียดนาม
สำนักต่างประเทศ วัดพระธรรมกาย และ กอง AEC ร่วมทอดกฐินสมทบ ที่ประเทศเวียดนาม